Artificial Sun ดวงอาทิตย์เทียมของจีนกับการสร้างพลังงานนิวเคลียร์

ทีมนักวิจัยจากสถาบันวิทยาศาสตร์กายภาพ เหอเฟย ของจีน ได้ประกาศว่า  เครื่องปฏิกรณ์ทดลองขั้นสูง Tokamak (EAST) หรือ เครื่องปฏิกรณ์ “Artificial Sun (ดวงอาทิตย์เทียม)” ที่ออกแบบมาเพื่อสร้างกระบวนการสร้างพลังงานแสงอาทิตย์แบบธรรมชาติ เพื่อใช้ในการผลิตพลังงานได้กว่า 1 ล้านองศาเซลเซียส (180 ล้านองศาฟาเรนไฮต์)

สำหรับการเปรียบเทียบแกนกลางของดวงอาทิตย์ของจริงนั้น  จะมีอุณหภูมิประมาณ  27 ล้านองศาฟาเรนไฮต์  ซึ่งหมายความว่าเครื่องปฏิกรณ์ EAST นั้นมีความร้อนมากกว่าดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ที่สุดมากกว่าถึง 6 เท่า

เมื่อนิวเคลียสของไฮโดรเจนสองอันรวมกัน พวกมันจะผลิตพลังงานได้จำนวนมหาศาล ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า nuclear fusion ซึ่งดวงอาทิตย์จะสร้างแสงและความร้อนในปริมาณที่มหาศาล  ซึ่งถ้าเราสามารถหาวิธีที่จะควบคุมมันได้นั้น เราก็จะมีแหล่งพลังงานสะอาดที่ไร้ขีดจำกัดนั่นเอง 

เครื่องปฏิกรณ์ Tokamaks ( EAST ) สามารถช่วยให้เราทำสิ่งนั้นได้ พวกมันเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สนามแม่เหล็กเพื่อควบคุมพลาสมา ในแบบที่สามารถรองรับนิวเคลียร์ฟิวชั่นได้ และ EAST เองก็ให้ความร้อนจนถึงอุณหภูมิที่สูงน่าเหลือเชื่อเช่นเดียวกัน

ซึ่งในขณะนี้“ ดวงอาทิตย์เทียม” ของจีนมีความสามารถในการให้ความร้อนกับพลาสมา ตามอุณหภูมิที่นักวิจัยต้องการสำเร็จ ซึ่งตอนนี้เหล่านักวิจัยสามารถมุ่งเน้นไปที่ขั้นตอนต่อไปตามเส้นทางสู่การหลอมนิวเคลียร์เพื่อสร้างพลังงานที่เสถียรขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้

References : 
http://english.hf.cas.cn


 


ติดตามสาระดี ๆ อัพเดททุกวันผ่าน Line OA



Geek Forever Club พื้นที่ของการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ด้านธุรกิจ เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ใหม่ ๆ ที่น่าสนใจ



Geek Forever’s Podcast


“Open Your World With Technology


AI , Blockchain และเทคโนโลยีใหม่ ๆ กำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญในหลายธุรกิจ ทั้ง แวดวงการเงิน สุขภาพ หรือ งานด้านบริการต่าง ๆ ผมเป็นคนหนึ่งที่สนใจเกี่ยวกับ AI หรือ Machine Learning

Podcast ของผมจะเล่าเรื่องราวต่าง รวมถึงเรื่องที่ผมสนใจอื่น ๆ เช่น startup หนังสือ หนัง หรือ กีฬาฟุตบอล อยากชวนคนที่สนใจให้ลองมาติดตาม podcast ของผมกันด้วยนะครับ

ฟังผ่าน podbean
ฟังผ่าน podbean
ฟังผ่าน Apple Podcasts
ฟังผ่าน Apple Podcasts
ฟังผ่าน Google Podcasts
ฟังผ่าน Google Podcasts
ฟังผ่าน Spotify
ฟังผ่าน Spotify
ฟังผ่าน Youtube
ฟังผ่าน Youtube